แผนเตรียมการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอุทกภัย พ.ศ. ๒๕๖๖ https://scontent.fbkk7-2.fna.fbcdn.net/v/t1.0-1/1526215_494716300641067_238222163_n.jpg?_nc_cat=0&oh=655c3f8ff1cc15daf25d57168f5be193&oe=5C04D0A3 องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สานักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด โทรศัพท์/โทรสาร ๐- ๔๔๙๘- ๑๔๑๔ แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา ********************* 1. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสาคัญของท้องถิ่น ตาบลโนนเพ็ด เป็นตาบลหนึ่งของ อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา จัดตั้งตาม พระราชบัญญัติ ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 มีจานวนหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน ปัจจุบันการเติบโตของจานวนประชากรเพิ่มมาก ขึ้นจึงได้แยกหมู่บ้านออกจากหมู่บ้านหลักเป็น 11 หมู่บ้าน มีกานันทั้งหมด 7 คน กานันคนปัจจุบัน นายเสรี นามพิมูล สาเหตุที่ตั้งชื่อตาบลว่า "โนนเพ็ด" สืบเนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศเป็นที่ดอนมีความสูงไม่มากนักและ มีต้นบอรเพชรขึ้นจานวนมาก แต่ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ทานา การทานาที่นี้เป็นการทานาปี ลักษณะที่ตั้ง ตาบลโนนเพ็ด เป็น 1 ใน 13 ตาบลของอาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ อาเภอประทาย ระยะทาง 20 กม. บนเส้นทางหลวงชนบท บ้านเตยกระโตน – บ้านหนองบัวนาค เขตจังหวัด นครราชสีมา มีสภาพทางกายภาพเป็นที่ราบสูงพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่นา มีที่ลุ่มบ้างเล็กน้อยมีลาห้วยธรรมชาติไหล ผ่านมีป่าไม้เล็กน้อย เนื้อที่ ตาบลโนนเพ็ด มีเนื้อที่ประมาณ 31,679 ไร่ หรือ 51 ตารางกิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอพล อาเภอหนองสองห้อง จังหวัดของแก่น ทิศใต้ ติดกับตาบลหันห้วยทราย อาเภอประทาย ทิศตะวันออก ติดกับตาบลเมืองโดน อาเภอประทายและอาเภอหนองสอง ห้อง จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันตก ติดต่อกับตาบลวังไม้แดง อาเภอประทาย ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของตาบลโนนเพ็ดเป็นที่ราบลุ่ม สภาพดินเหมาะสมแก่การทาการเกษตรกรรมมีน้า ท่วมขังพื้นที่เป็นบางส่วน ในฤดูแล้งอากาศจะแห้งแล้งและร้อนจัด แหล่งน้าธรรมชาติ ตาบลโนนเพ็ด ที่สร้างขึ้นคือ อ่างเก็บน้าต่าง ๆ ซึ่งเอื้อประโยชน์ทางการเกษตรกรรม การ อุปโภคและบริโภคของประชาชนในตาบล -2- ลักษณะการปกครอง ตาบลโนนเพ็ด แบ่งการปกครองออกเป็น 11 หมู่บ้าน ดังนี้ จานวนประชากร ศาสนา องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด มีจานวนประชากรทั้งสิ้น 5,691 คน จาแนกเป็น เพศชาย 2,841 คน เพศหญิง 2,850 คน จานวนครัวเรือน 1,366 ครัวเรือน จานวนประชากรแฝง ประมาณ – คน ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ร้อยละ 100 ระบบสาธารณูปโภค 2.1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1) การคมนาคม องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด มีทางหลวงชนบทเป็นเส้นทางหลักในการ เดินทางเข้าสู่อาเภอประทาย 2) การโทรคมนาคม มีโทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่ จานวน 13 ตู้ 3) การไฟฟ้า เขตตาบลโนนเพ็ด มีไฟฟ้าขยายทั่วถึงทั้งตาบล ประชากรมีไฟฟ้าครบทุกครัวเรือน ทาให้ประชาชนมีสิ่งอานวยความสะดวก คือมือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆเกือบครบทุกครัวเรือน 4) ระบบประปา ประชาชนในตาบลโนนเพ็ดส่วนใหญ่ได้รับการบริการด้านการประปาจากระบบ ประปาหมู่บ้านทุกครัวเรือนและมีระบบประปา ตามแบบกรมทรัพยากรน้าบาดาล จานวน 5 แห่ง 5) การศึกษา ในพื้นที่ตาบลโนนเพ็ด มีโรงเรียนในพื้นที่ระดับประถมศึกษาจานวน 5 โรงเรียนคือ ชื่อโรงเรียน จานวนนักเรียน จานวนครู อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้น มัธยมศึกษา ตอนปลาย รวม ร.ร.บ้านหนองบัวนาค 44 137 96 - 277 15 ร.ร.โนนเพ็ดวิทยา 21 64 - - 85 3 ร.ร.หนองห่าง 2 22 - - 24 4 ร.ร.บ้านหนองคอกควาย - - - - - - ร.ร.รวมมิตรพัฒนา 29 105 40 - 174 7 -3- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีจานวน 3 แห่ง 1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร.ร.บ้านหนองบัวนาค มีนักเรียนจานวน 47 คน 2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร.ร.รวมมิตรพัฒนา มีนักเรียนจานวน 34 คน 1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร.ร.บ้านโนนเพ็ด มีนักเรียนจานวน 30 คน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ได้มีการจัดตั้งศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนชุมชนขึ้นที่ตาบลโนนเพ็ด จานวน 1 แห่ง โดยมีนักเรียนทั้งหมด ตั้งแต่ระบบประถมศึกษาปีที่ 6 ถึง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 59 คน การศึกษาของราษฎร ลาดับที่ ระดับการศึกษา จานวน(คน) ร้อยละ หมายเหตุ 1 ประถมศึกษา(ป.1- 6) 4,697 41 ไม่รวมผู้กาลังศึกษา 2 มัธยมศึกษาตอนต้น(ม.1- 3) 1,200 10 ไม่รวมผู้กาลังศึกษา 3 มัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.4- 6) 2,300 20 ไม่รวมผู้กาลังศึกษา 4 ปวช. 1,500 13 ไม่รวมผู้กาลังศึกษา 5 ปวส.,ปวท. 1,000 9 ไม่รวมผู้กาลังศึกษา 6 ปริญญาตรีหรือสูงกว่านี้ 780 7 ไม่รวมผู้กาลังศึกษา รวม 11,477 100 การประกอบอาชีพ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ข้าวนับเป็นพืชเศรษฐกิจ และเป็นรายได้หลักของ ครอบครัว นอกจากนี้ยังมีพืชชนิดอื่น ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ฯลฯ และมีการเลี้ยงสัตว์ ไว้เพื่อการ บริโภค และจาหน่ายบ้าง ได้แก่ โค กระบือ สุกร ไก่ เป็ด เป็นต้น สภาพทางสังคม การศึกษา - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จานวน 3 แห่ง - โรงเรียนระดับประถมศึกษา จานวน 5 โรงเรียน - ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนของ กศน. จานวน 1 แห่ง - ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจาหมู่บ้าน จานวน 11 แห่ง สถาบัน และองค์กรทางศาสนา - วัด / ที่พักสงฆ์ จานวน 13 แห่ง การสาธารณสุข - สถานีอนามัยประจาตาบล / จานวน 1 แห่ง - อาสาสมัครสาธารณสุข จานวน 66 คน - หอกระจายข่าว จานวน 11 แห่ง -4- แหล่งน้าธรรมชาติ - มีห้วย หนอง คลอง บึง ดังนี้ 1.หมู่ที่ 1 - ลาห้วยแอก หนองคุกวงศ์ 2.หมู่ที่ 2 - อ่างเก็บน้าบ้านหนองช่างตาย 3.หมู่ที่ 3 - หนองบ้านไผ่ 4.หมู่ที่ 4 - สระหนองคอกควาย 5.หมู่ที่ 5 - สระบ้านโนนเพ็ด 6.หมู่ที่ 6 - ลาห้วยแอก หนองคุกวงศ์ 7.หมู่ที่ 7 - อ่างเก็บน้าบ้านหนองจันสอน 8.หมู่ที่ 8 - ลาห้วยแอก 9.หมู่ที่ 9 - สระหนองห่าง 10.หมู่ที่ 10 - ลาห้วยแอก หนองคุกวงศ์ 11.หมู่ที่ 11 - ลาห้วยแอก หนองคุกวงศ์ การโทรคมนาคม - มีตู้โทรศัพท์สาธารณะใช้ครบทุกหมู่บ้าน การไฟฟ้า - มีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้าน ข้อมูลอื่น ๆ มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน จานวน 300 คน - อปพร. จานวน 49 คน - อ.ส.ม. จานวน 150 คน -5- สถานการณ์ ด้วยในห้วงระยะเวลาระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกปี สภาพอากาศในพื้นที่ของ ประเทศไทย จะมีฝนตกชุกเป็นจานวนมาก เกือบจะทุกพื้นที่ในประเทศไทย ประกอบกับพายุลมกรรโชกแรง ทาให้เป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดอุทกภัย อีกทั้งสภาพความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยต่อบ้านเรือนประชาชนใน ปัจจุบัน ที่มักจะเกิดในช่วงเวลาดั้งกล่าว และจะมีความเสียหายมากในกรณีของอุทกภัยที่เกิดขึ้นใน สร้างความ เสียหายต่อบ้านเรือนราษฎร ยังผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและของทางราชการ ตาบลโนนเพ็ด ราษฎรส่วนมากทาอาชีพการเกษตรกรรม ปศุสัตว์ ไม่มีแม่น้าไหลผ่าน มีน้าใช้ในการ อุปโภคและบริโภคจากห้วย หนอง คลอง บึง ที่มนุษย์ทาขึ้นและมีอยู่เองตามธรรมชาติ ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึง เดือนตุลาคม เป็นช่วงฤดูฝนมีผลทาให้ฝนตกหนักและลมกรรโชกแรง เพื่อเป็นการเตรียมป้องกันและระงับอุทกภัย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อสถานการณ์ จึงเห็นควรจัดทาแผนเฉพาะกิจป้องกันและระงับอุทกภัยองค์การ บริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด และจัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๖ 2. วัตถุประสงค์ 2.1.เพื่อให้องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด มีแนวทางในการดาเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไข ปัญหาอุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2.2.เพื่อให้คณะผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ดใช้เป็นเครื่องมือ และแนวทางในการ ตัดสินใจ สาหรับการดาเนินการด้านป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย 2.3.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ได้รับบริการสาธารณะด้านป้องกันและ แก้ไขปัญหาอุทกภัยอย่างน้อยในระดับมาตรฐานขั้นพื้นฐาน 2.4.เพื่อให้เกิดความชัดเจนในแนวทางปฏิบัติ ในด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย 3. เป้าหมาย 3.1.เพื่อเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด 3.2.เพื่อเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ข้างเคียงขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด -6- 4. ขันตอนการปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ 4.1 การปฏิบัติก่อนเกิดภัย 4.1.1 จัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและระงับอุทกภัยองค์การบริหารส่วนตาบล โนนเพ็ด ณ สานักงานองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด(ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน) เพื่อทาหน้าที่ ประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานต่างๆ และประสานข้อมูลด้านต่างๆร่วมกับชุมชน และจัดทา คาสั่งแต่งตั้งให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติหน้าที่ภายในศูนย์อานวยการฯ 4.1.2 จัดให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันด้วยการรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร สถานการณ์อุทกภัยและผลกระทบจากอุทกภัยในรูปแบบต่างๆอย่างต่อเนื่อง 4.1.3 จัดให้มีการเตรียมความพร้อม ของกาลังพล ยานพาหนะ อุปกรณ์และเครื่องมือ ในการป้องกันและระงับอุทกภัยได้ตลอดตลอดเวลา 4.1.4 จัดทาแผนเฉพาะกิจป้องกันและระงับอุทกภัย เพื่อจัดระบบการปฏิบัติงานไว้ ล่วงหน้าให้สามารถป้องกันและระงับอุทกภัยได้ตามสถานการณ์ของแต่ละพื้นที่ 4.1.5 การจัดระบบการแจ้งเหตุ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 4.1.5.1 ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด เป็นหน้าที่ของงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย สานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด รายละเอียดตามภาคผนวก 4.1.5.2 นอกเขตองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด เป็นความร่วมมือระหว่างศูนย์ อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัยองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและศูนย์อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัย อาเภอประทาย รวมทั้งหน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนที่จัดตั้งขึ้นในท้องที่นั้นแล้วแต่กรณี 4.2 การปฏิบัติเมื่อเกิดภัย 4.2.1 การรับแจ้งเหตุอุทกภัย เมื่อได้รับรายงานหรือแจ้งว่าเกิดอุทกภัยขึ้น ให้ปฏิบัติ ดังนี้ 4.2.1.1 ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ให้งานป้องกันและระงับอุทกภัย ศูนย์อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัย องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ออกเผชิญเหตุและระงับเหตุในพื้นที่ รับผิดชอบทันทีที่เกิดอุทกภัย และประสานงานกับส่วนราชการต่างๆ เพื่อดาเนินการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที 4.2.1.2 นอกเขตองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ให้ศูนย์อานวยการป้องกันและ ระงับอุทกภัยท้องที่เกิดเหตุออกเผชิญเหตุและระงับเหตุในพื้นที่รับผิดชอบทันทีที่เกิดอุทกภัย และให้งาน ป้องกันและระงับอุทกภัย สานักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด เตรียมความพร้อมในการให้การ สนับสนุนได้ตลอดเวลาตามคาร้องขอ -7- 4.2.2 การปฏิบัติการในที่เกิดเหตุ ให้อยู่ในความรับผิดชอบ ดังนี้ 4.2.2.1 การควบคุมการปฏิบัติในที่เกิดเหตุในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล โนนเพ็ด ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้อานวยการศูนย์ป้องกันและระงับอุทกภัยองค์การบริหารส่วนตาบลโนน เพ็ด หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย สาหรับพื้นที่นอกเขตองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ให้อยู่ในความรับผิดชอบ ของผู้อานวยการศูนย์ป้องกันและระงับอุทกภัยท้องที่นั้นๆ 4.2.2.2 การรายงานสถานการณ์และความเสียหายจากเหตุอุทกภัย ให้ รายงานให้ผู้อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัยทราบทุกระยะ จนกว่าสถานการณ์จะยุติ 4.2.2.3 การสั่งการให้เจ้าหน้าที่เข้าระงับเหตุ ให้ยึดหลักความสาคัญเรื่อง ความปลอดภัยของพนักงาน การช่วยเหลือผู้ประสบภัยและการรักษาทรัพย์สินตามลาดับ และมุ่งระงับภัยที่ เกิดขึ้นให้ยุติโดยเร็ว 4.2.2.4 ประเมินสถานการณ์ที่เกิดขึ้นว่าอยู่ในขีดความสามารถที่จะจัดการ แก้ไขปัญหาหรือไม่โดยพิจารณาจากความรุนแรงของภัยเป็นเกณฑ์ ดังนี้ ระดับ 1 เกิดภัยเล็กน้อย สามารถระงับเหตุได้โดยลาพัง เมื่อดาเนินการแล้วรายงานให้ผู้อานวยการ ป้องกันและระงับอุทกภัยทราบ ระดับ 2 เกิดภัยรุนแรงเกินขีดความสามารถจะระงับเหตุได้โดยลาพัง รายงานให้ผู้อานวยการป้องกันและ ระงับเหตุอุทกภัยเพื่อพิจารณาสั่งการ และให้ร้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่โดยดาเนินการ ดังนี้ 1) ตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจขึ้น เพื่อเป็นศูนย์อานวยการและประสานการปฏิบัติระหว่าง หน่วยงานต่างๆ โดยให้ผู้อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัยองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ดเป็นผู้อานวยการ ศูนย์O 2) เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานต่าง ๆ ที่ร้องขอการสนับสนุนจัดส่ง เจ้าหน้าที่พร้อมอุปกรณ์ มาถึงที่เกิดเหตุให้หัวหน้าชุดปฏิบัติการรายงานตัว ณ ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจและ ปฏิบัติงานตามคาสั่งของผู้อานวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนท้องที่ที่เกิดเหตุ 3) จัดระเบียบจราจรบริเวณที่เกิดเหตุและกาหนดพื้นที่ห้ามเข้าให้เจ้าหน้าที่ตารวจดูแลความ สงบเรียบร้อย และจัดทากาลังอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เข้าช่วยเหลือการปฏิบัติงาน 4) ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนผู้อาศัยอยู่ในที่เกิดเหตุและบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบ ทราบถึงการดาเนินการของเจ้าหน้าที่ การให้ความช่วยเหลือ ฯลฯ เพื่อลดความสับสนและสร้างขวัญกาลังใจแก่ ผู้ประสบภัย รวมทั้งให้ข่าวต่อสื่อมวลชน 5) ให้หน่วยกู้ชีพกู้ภัยทาการปฐมพยาบาลผู้ได้รับบาดเจ็บป่วย ณ จุดเกิดเหตุ และนาส่ง โรงพยาบาล หากจาเป็นต้องรับการรักษาพยาบาลอย่างต่อเนื่อง -8- 6) ขอรับการสนับสนุนหน่วยพยาบาลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลบ้านหนอง ช่างตาย กรณีมีผู้บาดเจ็บจานวนมาก 7) รายงานเหตุการณ์ให้ผู้อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและระงับอุทกภัยชั้นเหนือขึ้นไปทราบทุก ระยะจนกว่าสถานการณ์จะยุติ 8) ศูนย์อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัยองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ติดตาม สถานการณ์อย่างต่อเนื่องหากเหตุการณ์ลุกลามหรือกองอานวยการป้องกันและระงับอุทกภัยเขตท้องที่อื่นร้อง ขอให้ประสานแจ้งหน่วยงานใกล้เคียงเข้าช่วยเหลือ ระดับ 3 เหตุรุนแรงกว้างขวาง หรือจุดเกิดเหตุไม่สามารถเข้าทั่วถึงได้โดยง่ายต้องอาศัยอุปกรณ์พิเศษ เช่น บริเวณตลาดสด ห้องแถว ชุมชนหนาแน่น เป็นต้น ให้ร้องขอความช่วยเหลือเพิ่มเติมจากกอง อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัยของส่วนราชการอื่น เพื่อขอการสนับสนุนกาลังคน อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้าช่วยเหลือการปฏิบัติงาน โดยมีขั้นตอนเช่นเดียวกับภัยรุนแรงระดับ 2 4.3 การปฏิบัติหลังเกิดภัย เมื่อเหตุการณ์ยุติลงแล้ว ให้ศูนย์อานวยการป้องกันและระงับอุทกภัยองค์การบริหารส่วนตาบล โนนเพ็ด ปฏิบัติตามขั้นตอนการฟื้นฟูบูรณะที่กาหนดไว้ และให้ปฏิบัติเพิ่มเติม ดังนี้ 4.3.1 ให้ดาเนินการสารวจผู้ประสบภัยและจัดทาบัญชีไว้เพื่อประโยชน์ในการให้ความช่วยเหลือ 4.3.2 ให้เจ้าพนักงานสอบสวนเขตท้องที่สืบสวนสอบสวนถึงความเสียหายที่ได้รับ ดาเนินการ ตามอานาจหน้าที่ 4.3.3 จัดการบรรเทาทุกข์หรือจัดสถานที่พักอาศัยชั่วคราว ตลอดจนให้ การช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัยตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2546 โดยให้เป็นหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด 4.3.4 กรณีที่บริเวณที่เกิดเพลิงไหม้อาคารตั้งแต่สามสิบหลังคาเรือนขึ้นไป หรือมีเนื้อที่ตั้งแต่หนึ่ง ไร่ขึ้นไป รวมทั้งบริเวณที่อยู่ติดต่อภายในระยะสามสิบเมตรโดยรอบบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ซึ่งถือว่าเป็น “เขต เพลิงไหม้” ตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นตามกฎหมายควบคุมอาคารประกาศ แสดงเขตเพลิงไหม้ ณ สานักงานของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น และบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้โดยมีแผนที่สังเขปแสดง เขตเพลิงไหม้พร้อมทั้งระบุให้ทราบถึงการกระทาอันต้องห้ามตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และภายใน สี่สิบห้าวันนับตั้งแต่วันที่เกิดเพลิงไหม้ห้ามก่อสร้างดัดแปลง รื้อถอนหรือเคลื่อนย้ายอาคารในเขตเพลิงไหม้ 4.3.5 ให้เจ้าพนักงานท้องที่พิจารณาว่าสมควรจะมีการปรับปรุงเขตที่ได้รับความเสียหายโดย คานึงถึงประโยชน์ในการป้องกันอุทกภัย การสาธารณสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การผังเมือง การ สถาปัตยกรรม และการอานวยความสะดวกแก่การจราจรต่อคณะกรรมการควบคุมอาคารภายในสิบห้าวันนับจาก วันที่เกิดเหตุ เพื่อให้คณะกรรมการควบคุมอาคารพิจารนาตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ต่อไป ภาคผนวก คาสั่งองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ที่ ๔๔๕ / ๒๕๖๕ เรื่อง การจัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ .................... ตามที่ได้มีการจัดทาแผนเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ อันเนื่องมาจากในห้วงระยะเวลาระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ของทุกปี สภาพอากาศจะมีฝน ตกชุกและลมกรรโชกแรง ซึ่งเป็นปัจจัยเอื้อต่อการเกิดอุทกภัย และการเกิดอุทกภัยในแต่ละครั้งเป็นอันตราย และสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งของประชาชนและทางราชการ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม นั้น เพื่อให้การเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตาบล โนนเพ็ดและพื้นที่ใกล้เคียงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อสถานการณ์ ลดอันตรายและการสูญเสียหากเกิด เหตุการณ์ขึ้น จึงให้ดาเนินการดังนี้ ๑. จัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยองค์การบริหารส่วนตาบล โนนเพ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ สานักงานองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการประจาศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ดังนี้ ๒.๑ ฝ่ายอานวยการ ประกอบด้วย ๒.๑.๑ นายกองค์การบริหารส่วนตาบล.โนนเพ็ด ผู้อานวยการศูนย์ฯ ๒.๑.๒ รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล.โนนเพ็ด รองผู้อานวยการศูนย์ฯ ๒.๑.๓ เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๔ กานันตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๕ ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน กรรมการ ๒.๑.๖ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๗ ผอ.รพสต.ตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๘ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด กรรมการ/เลขานุการ ๒.๑.๙ หัวหน้าสานักปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานุการ ๒.๑.๑๐ พนักงานส่วนตาบล เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ - ๒- ๒.๑.๑๑ พนักงานจ้าง เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ มีหน้าที่ วางแผนป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย สั่งการ อานวยการ กากับ ดูแล การปฏิบัติหน้าที่แต่ละฝ่าย ติดตามประเมินและสรุปผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งประสานการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย ให้สอดคล้องกับหน่วยงานหรือองค์กรอื่น ๒.๒ ฝ่ายประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร ประกอบด้วย ๒.๒.๑ นางสาวแสงเดือน เพ็ชร์ราม ประธานคณะทางาน ๒.๒.๒ นางจุมพิศ คุณล้าน คณะทางาน ๒.๒.๓ นางกชกร สมทรัพย์ คณะทางาน ๒.๒.๔ นางสาวสุรัญชนา นานอก คณะทางาน ๒.๒.๕ นางรจรินทร์ ศรีปราชวิทยา คณะทางาน ๒.๒.๖ นางสาวสุดา หวัดไธสง คณะทางาน ๒.๒.๗ นายเอื้ออังกูล ปัตตาเทศา คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ และจัดการข่ายติดต่อสื่อสาร ติดตั้งและกากับ ดูแลเครื่องมือ อุปกรณ์และระบบสื่อสารกับเครือข่ายต่างๆ รวมทั้งรับส่งข่าวสารกับหน่วยงานต่างๆ ๒.๓ ฝ่ายการเงิน ประกอบด้วย ๒.๓.๑ นายสมคิด ชัยนา ประธานคณะทางาน ๒.๓.๒ นางสาวอทิตยา เพ็ชรรักษา คณะทางาน ๒.๓.๓ นางอรุณฉาย แถวไธสง คณะทางาน ๒.๓.๔ นางสาวประภาพร ชัยพรม คณะทางาน ๒.๓.๕ นางสาวอชิรญา สุพะกะ คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ จัดหาหรือรับบริจาคเครื่องอุปโภค- บริโภคในการสงเคราะห์ผู้ประสบภัย และ จัดทาบัญชีควบคุม รวมทั้งดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงินฉุกเฉินโดยอาศัยหลักเกณฑ์ และวิธีดาเนิน การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๖ และหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ๒.๔ ฝ่ายแจ้งและเตือนภัย ประกอบด้วย ๒.๔.๑ กานันตาบลโนนเพ็ด ๒.๔.๒ ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน ๒.๔.๓ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ดทุกหมู่บ้าน ๒.๔.๔ พนักงานและพนักงานจ้างองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ดทุกคน ๒.๔.๕ สมาชิก อปพร.อบต.โนนเพ็ด ทุกคน - ๓- มีหน้าที่ สารวจและจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานท้องที่ เฝ้าระวัง วิเคราะห์ ประเมิน สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น นาเสนอฝ่ายอานวยการเพื่อพิจารณาแนวทางป้องกัน ระงับ และให้ความช่วยเหลือ รวมทั้งรับแจ้งและเตือนภัย ๒.๕ ฝ่ายป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาวและอุทกภัย ประกอบด้วย ๒.๕.๑ นายปฐวี ปัตตาเทศา หัวหน้าชุดปฏิบัติการ ๒.๕.๒ นายสุรศักดิ์ กสิผล รองหัวหน้าชุดปฏิบัติการ ๒.๕.๓ นายทัยดา รักษาภักดี เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ๒.๕.๔ นายจักรไชย ปัตตาเทศา เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ๒.๕.๕ นายสุนทร ชัยพรม เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ๒.๕.๖ เจ้าหน้าที่ อปพร.อบต.โนนเพ็ด เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ๒.๕.๗ นายพัฒพงษ์ ศรีอ่อนตา เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ/เลขานุการ มีหน้าที่ เฝ้าระวังป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ระดมกาลังพลอาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ประสานการสั่งใช้เครื่องมือเครื่องใช้ ยานพาหนะ เคลื่อนย้ายวัสดุอุปกรณ์ ให้ความ ช่วยเหลืออานวยความสะดวกผู้ประสพภัย และหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ๒.๖ ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย ประกอบด้วยประกอบด้วย ๒.๖.๑ นายปฏิวัติ สมทรัพย์ ประธานคณะทางาน ๒.๖.๒ นายธารง คุณล้าน คณะทางาน ๒.๖.๓ นายเฉลิมชัย ขจรภพ คณะทางาน ๒.๖.๔ นายสมชาย ลุนสมบัติ คณะทางาน ๒.๖.๕ เจ้าหน้าที่ อปพร.อบต.โนนเพ็ด คณะทางาน ๒.๖.๖ นายสมคิด ชัยนา คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ รักษาความปลอดภัยสถานที่เกิดเหตุและพื้นที่อพยพ รวมทั้งจัดระเบียบจราจร ในเส้นทางคมนาคม ๒.๗ ฝ่ายฟื้นฟูบูรณะ ประกอบด้วยประกอบด้วย ๒.๗.๑ นายเสกศึก สาราญสุข ประธานคณะทางาน ๒.๗.๒ นายนิรุส อินทะราชา คณะทางาน ๒.๗.๓ นายชาติชนะ นาทุ่งหมื่น คณะทางาน ๒.๗.๔ เจ้าหน้าที่ รพสต.บ้านหนองช่างตาย คณะทางาน ๒.๗.๕ เจ้าหน้าที่ อปพร.อบต.โนนเพ็ด คณะทางาน ๒.๗.๖ นายสมชาย ลุนสมบัติ คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ ซ่อมแซมระบบสาธารณูปโภค สิ่งก่อสร้างต่างๆ เพื่อให้สามารถใช้การได้