แผนเตรียมการป้องกันและแก้ไข ปัญหาภัยแล้ง พ.ศ. ๒๕๖๖ https://scontent.fbkk7-2.fna.fbcdn.net/v/t1.0-1/1526215_494716300641067_238222163_n.jpg?_nc_cat=0&oh=655c3f8ff1cc15daf25d57168f5be193&oe=5C04D0A3 องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สานักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด โทรศัพท์/โทรสาร ๐- ๔๔๙๘- ๑๔๑๔ แผนที่องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา คานา สถานการณ์ภัยแล้งของตาบลโนนเพ็ด ในปี ๒๕๖๕ ถึง ปี ๒๕๖๖ มีแนวโน้มเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และซับซ้อนมากขึ้น มีสาเหตุเนื่องจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศของโลก ความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบกับ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคมไทยจากสังคมชนบทไปสู่สังคมเมืองอย่าง รวดเร็ว ทาให้ประชาชนมีโอกาส อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ความเสียหายจากภัยแล้งทวีความรุนแรง มากยิ่งขึ้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน และมีบทบาทภารกิจใน การให้ความช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัยในลาดับแรกก่อนที่หน่วยงานภายนอกจะเข้าไปให้ความความ ช่วยเหลือประกอบกับพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐ กาหนดให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่มีหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตนเอง โดยมีผู้บริหาร ท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่นั้นเป็นผู้รับผิดชอบในฐานะผู้อานวยการท้องถิ่น และแผนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ ได้กาหนดให้กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารภัยแห่ง พื้นที่ ทาหน้าที่อานวยการ ควบคุม ปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมทั้งจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน และเผชิญเหตุเมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น โดยมีผู้อานวยการท้องถิ่น เป็นผู้ควบคุมและสั่งการในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยที่เกิดขึ้นจนกว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ พร้อมทั้งแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงถือเป็นภารกิจสาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องเตรียม ความพร้อมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการเผชิญเหตุและให้ความ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย ภายหลังจากสถานการณ์สิ้นสุด ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาภัยแล้ง ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการเตรียมความพร้อม การแจ้งเตือนภัย และการดาเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้งร่วมกับหน่วยราชการต่างๆ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ผู้อานวยการท้องถิ่น วันที่ ๓ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ สารบัญ หน้า แผนที่องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด บทนา ๑.สภาพทั่วไปของ อบต.โนนเพ็ด ๑ ๑.๑ ที่ตั้งและอาณาเขต ๑ ๑.๒ เขตการปกครอง ๑ ๑.๓ ประชากร ศาสนา ๑ ๑.๔ การประกอบอาชีพ ๑ ๑.๕ เส้นทางคมนาคม (การขนส่งทางรถยนต์ ทางบก ทางน้า ทางอากาศ) ๑ ๑.๖ แหล่งแม่น้าลาคลอง ๒ ๒. ประวัติการเกิดภัยแล้ง ๒ ๒.๑ สถานการณ์ภัยลัง ๒ ๒.๒ สถิติภัย ๒ ๓. ภารกิจ ๓ ๔. การปฏิบัติ ๓ ๔.๑ แนวความคิดในการปฏิบัติ ๓ ๔.๒ ขั้นตอนการปฏิบัติ ๓ ๕ หน่วยปฏิบัติ ๔ ๕.๑ หน่วยงานหลัก ๔ ๕.๒ หน่วยงานรอง ๔ ๕.๓ หน่วยงานสนับสนุน ๔ ๖. งานด้านธุรการและการสนับสนุน ๕ ๖.๑ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ๕ ๖.๒ กาลังคน ๕ ๖.๓ งบประมาณ ๕ ๗. การบังคับบัญชาและติดต่อสื่อสาร ๕ ๗.๑ การบังคับบัญชา ๕ ๗.๒ การติดต่อสื่อสาร ๕ ภาคผนวก - ประกาศใช้แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด - คาสั่งจัดตั้งศูนย์อานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ประจาปี ๒๕๖๖ องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา ๑. สภาพทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ๑.๑ ที่ตั้งและอาณาเขต องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ตั้งอยู่ที่ บ้านโนนเพ็ด หมู่ที่ ๕ ตาบลโนนเพ็ด อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ประมาณ..๕๑..ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๓๑,๖๗๘ ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ ต่างๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่ออาเภอพล อาเภอหนองสองห้อง จงวัดขอนแก่น ทิศใต้ ติดต่อกับตาบลหันห้วยทราย อาเภอประทาย ทิศตะวันออก ติดต่อกับตาบลเมืองโดน อาเอประทาย และอาเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ทิศตะวันตก ติดต่อกับตาบลวังไม้แดง อาเภอประทาย ๑.๒ เขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด แบ่งการปรกครองเป็น ๑๑ หมู่บ้าน ๑.๓ ประชากร ศาสนา องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด มีจานวนประชากรทั้งสิ้น ๕,๖๙๑ คน องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด มีจานวนประชากรทั้งสิ้น ๕,๖๙๑ คน จาแนกเป็น เพศชาย ๒,๘๔๑ คน เพศหญิง ๒,๘๕๐ คน จานวนครัวเรือน ๑,๓๖๖ ครัวเรือน จานวนประชากรแฝง ประมาณ - คน ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ร้อยละ ๑๐๐ ๑.๔ การประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ประมาณร้อยละ ๘๕ ประกอบ อาชีพ เกษตรกรรม รองลงมาได้แก่ ด้านปศุสัตว์ ประมาณร้อยละ ๑๐ .ด้านอื่น ประมาณร้อยละ ๕ เนื่องจาก สภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับเกษตรกรรม เฉลี่ยรายได้ประชากรต่อหัว/ต่อปี ประมาณ ๓๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาท ที่มา : สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอประทาย ๑.๕ เส้นทางคมนาคม (การขนส่งทางรถยนต์ ทางบก ทางน้า ทางอากาศ) องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด มีเส้นทางคมนาคมที่สาคัญสามารถเดินทางติดต่อกัน ระหว่าง อบต.วังไม้แดง และอาเภอต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถเดินทางได้ทางรถยนต์ บนถนนทางหลวง หมายเลข ๑๐๑๗ -๒- ๑.๖ แหล่งแม่น้าลาคลอง องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบสูง ไม่มี แม่น้าไหลผ่าน มีแหล่งน้าตามธรรมชาติและแหล่งน้าที่สร้างขึ้นในแต่ละหมู่บ้าน ๒. ประวัติการเกิดภัยแลัง ๒.๑ สถานการณ์ภัยแล้ง ภัยแล้งมักเกิดทั่วไปในประเทศไทยช่วงระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคมของทุกปี โดยเป็นช่วงที่ภาวะอากาศมีความแห้งแล้งหลังจากอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายนเป็นผลให้สภาพอากาศร้อนอบอ้าว และอากาศร้อนจัดเกือบทุกพื้นที่ของประเทศไทยประกอบกับปริมาณน้้าฝนที่อยู่ในเกณฑ์ต่้ากว่าปกติปริมาณน้้าฝน จะมีเฉพาะในบางพื้นที่ทาให้เกิดภาวะความแห้งแล้งการขาดน้้าอุปโภคบริโภคและน้้าเพื่อการเกษตรในพื้นที่ทั่วไปซึ่ง ส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตและเกิดความเสียหายต่อการประกอบอาชีพของประชาชนในพื้นที่ สถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตาบลโนนเพ็ด ในปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ พื้นที่ในตาบล โนนเพ็ดประสบปัญหาภัยแล้งทั้งตาบล เนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ปริมาณน้าฝนมีน้อย ทาให้ไม่สามารถเก็บกักน้าไว้ใช้ในการอุปโภคและบริโภคตลอดทั้งปีได้ หมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งหนัก ได้แก่ หมู่ที่ ๑,๕,๘,๑๐,๑๑ หมู่บ้านที่ปัญหารองลงมา ได้แก่ หมู่ ๒,๓,๔,๖,๗,๙ ๒.๒ สถิติภัย สถานการณ์ภัยแล้งขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ที่สาคัญที่เกิดขึ้นและสร้างความ สูญเสียต่อพืชผลทางการเกษตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งนาข้าวของประชาชนจากสถิติการเกิดภัยแล้ง ในปี ๒๕๖๒ มีครอบครัวผู้ประสบภัย ๑,๓๖๖ ครัวเรือน จานวน ๒๕,๘๔๐ ไร่ จึงจ้าเป็นต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขปัญหา ทางด้านน้้าเพื่อการเกษตรและน้้าเพื่อการอุปโภค-บริโภค โดยการจัดตั้ง “จัดตั้งศูนย์อ้านวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งองค์การบริหาร ส่วนต้าบลโนนเพ็ด” เพื่อเป็นศูนย์อ้านวยการสั่งการประสานการปฏิบัติหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและ บรรเทาความเดือดร้อนของราษฎรที่ประสบภัยแล้งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยให้ความส้าคัญเตรียมการ ป้องกันและบรรเทาภาวะขาดแคลนน้้าเพื่อการบริโภคเป็นลาดับแรกและเพื่อการป้องกันและบรรเทาภาวการณ์ขาด แคลนน้้าเพื่อการอุปโภคและน้้าเพื่อการเกษตรเป็นลาดับต่อมา พื้นที่ตาบลโนนเพ็ด อาเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นพื้นที่ราบสูง ประชาชนโดยส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาคือปศุสัตว์ ประกอบกับปีนี้เกิดภาวะฝนทิ้งช่วง ทาให้พื้นที่ขาดแคลนน้า อุปโภคบริโภค รวมทั้งน้าเพื่อการเกษตร ก่อให้เกิดความเดือดร้อนในการดารงชีพและการประกอบอาชีพแก่ ประชาชนในพื้นที่ -๓- ๓. ภารกิจ ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ดาเนินการวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้า เพื่อป้องกันและบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน อันเนื่องจากการประสบภาวะภัยแล้ง รวมถึงการฟื้นฟูบูรณะผลผลิตการเกษตรที่ได้รับความเสียหายจากการขาด แคลนน้าเพื่อการเกษตร ๔. การปฏิบัติ ๔.๑ แนวความคิดในการปฏิบัติ ๔.๑.๑ เพื่อเป็นการบูรณาการของหน่วยงานทุกภาคส่วน ในการร่วมมือประสานการแก้ไขปัญหา และบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนที่ประสบภัยแล้ง ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๖ อย่างเต็มกาลัง ความสามารถ ๔.๑.๒ เพื่อจัดระบบในการบริหารงานป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้สามารถช่วยเหลือประชาชนได้ ทันต่อเหตุการณ์ รวมถึงระบบใช้น้าในพื้นที่ของประชาชน เพื่อป้องกันปัญหาความขัดแย้งของประชาชนผู้ใช้น้า ในพื้นที่ ได้อย่างเหมาะสมยุติธรรม ๔.๒ ขั้นตอนการปฏิบัติ ๔.๒.๑ ขั้นเตรียมการ (๑) ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด จัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกัน และแก้ไขปัญหาภัยแล้งองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๖ (๒) สารวจ ตรวจสอบแหล่งน้า รวมทั้งภาชนะเก็บกักน้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้อย่าง เพียงพอ (๓) สารวจพื้นที่ และครัวเรือนที่คาดว่าจะประสบปัญหาขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภค บริโภค- (๔) เตรียมแผนการแจกจ่ายน้าให้แก่ประชาชนในตาบลหมู่บ้านที่ประสบปัญหาขาดแคลน น้าอย่างรุนแรง ตลอดจนขอความร่วมมือจาก ส่วนราชการอื่น ภาคเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วม ในการให้ความช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ที่ประสบภัย (๕) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเตรียมสารองน้า และใช้น้าอย่างประหยัด ๔.๒.๒ ด้านการให้ความช่วยเหลือ (๑) เมื่อเกิดสถานการณ์ขึ้น ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด จัดเจ้าหน้าที่ออกสารวจสถานการณ์ภัยแล้ง โดยประกอบด้วยข้อมูลจานวน ความเสียหาย ความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่ ที่ประสบภัย จานวนราษฎรและทรัพย์สินที่เสียหาย และ รายงานสถานการณ์การเกิดภัยแล้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อให้ความช่วยเหลือต่อไป - ๔- (๒) ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง องค์การบริหารส่วนตาบล โนนเพ็ด ดาเนินการให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ ได้แก่ การแจกจ่ายน้า การช่วยเหลือด้านการเกษตร (๓) เมื่อเกิดภัยรุนแรงขึ้นในพื้นที่ และเกินขีดความสามารถที่จะให้ความช่วยเหลือได้ จะ ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่รับผิดชอบเหนือขึ้นไปในเขตท้องที่ ๕. หน่วยปฏิบัติ ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ประกอบด้วย ๕.๑ หน่วยงานหลัก ๔.๑.๑ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด (สานักงานปลัด) ทาหน้าที่ฝ่าย อานวยการของศูนย์อานวยการฯ ในการจัดระบบบริหารงานประสานงานอานวยการ การกากับติดตามการปฏิบัติ ของหน่วยงาน ต่าง ๆ ๔.๑.๒ กองช่าง เป็นกาลังหลักที่ใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจในกรณีฉุกเฉินร่วมกับ สมาชิก อปพร. ในพื้นที่ ๔.๑.๓ ชุดเผชิญเหตุฉุกเฉิน เป็นกาลังหลักที่ใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจในกรณีฉุกเฉิน ร่วมกับสมาชิก อปพร. ในพื้นที่ ๕.๒ หน่วยงานรอง ๔.๒.๑ กองสวัสดิการสังคมและกองการศึกษา สนับสนุนน้าการแจกจ่ายเพื่อการอุปโภค บริโภค ๔.๒.๒ องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด สนับสนุนงบประมาณในการซ่อมแซมภาชนะ เก็บกักน้า และแหล่งกักเก็บน้าที่เสียหายในพื้นที่รับผิดชอบ รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณในการป้องกันและบรรเทา ความเดือดร้อน จากความแห้งแล้งในระยะอย่างต่อเนื่อง ๕.๓ หน่วยงานสนับสนุน กรณีที่ปัญหาภัยพิบัติเกินขีดความสามารถของศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไข ปัญหาภัยแล้งองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด จะช่วยเหลือบรรเทาให้ขอความช่วยเหลือเพิ่มเติมไปยังกอง อานวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน อาเภอประทาย กองอานวยการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนนครราชสีมา เพื่อ ประสานขอการสนับสนุนไปยังหน่วยงานระดับจังหวัดและฝ่ายทหาร - ๕- ๖. งานด้านธุรการและการสนับสนุน ๖.๑ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ดาเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร สถานการณ์ภัยแล้งให้ประชาชนทราบและ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือ ๖.๒ กาลังคน ๖.๑.๑ สมาชิก อปพร. องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด จานวน ๓๐ นาย ๖.๑.๒ พนักงานองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด จานวน ๔๐ คน ๖.๑.๓ ผู้นาหมู่บ้านในตาบลโนเพ็ด จานวน ๔๔ คน ๖.๒ งบประมาณ งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ๗. การบังคับบัญชาและติดต่อสื่อสาร ๗.๑ การบังคับบัญชา ๗.๑.๑ หน่วยงานหลักและหน่วยงานรอง ให้อยู่ในการอานวยการศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกัน และแก้ไขปัญหาภัยแล้งองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด (ผู้อานวยการศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด) เป็น ผู้บังคับบัญชาสูงสุด ๗.๑.๒ ที่ตั้ง ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งองค์การบริหารส่วนตาบล โนนเพ็ด ตั้งอยู่ที่ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด (สานักงานปลัด) หมู่ที่ ๕ ตาบลโนนเพ็ด อาเภอ ประทาย จังหวัดนครราชสีมา หมายเลขโทรศัพท์ ๐-๔๔๙๗-๑๔๑๔ ๗.๒ การติดต่อสื่อสาร ๗.๒.๑ โทรศัพท์ หมายเลข ๐-๔๔๙๘-๑๔๑๔๑๔ ต่อ ๑๔โทรสาร หมายเลข ๐-๔๔๙๘-๑๔๑๔ ๗.๒.๒ Facebook “องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด” ๗.๒.๓ Line “อบต.โนนเพ็ด” ๗.๒.๔ Line “ผญบ.ต.โนนเพ็ด” ๗.๒.๕ wabsite “http://www.govesite.com/30180” ๗.๒.๖ สามารถติดต่อได้โดยตรงที่ สานักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ภาคผนวก คาสั่งองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ที่ ๔๔๒ / ๒๕๖๕ เรื่อง จัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งขององค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ******************** ตามที่ได้รับหนังสืออาเภอประทาย ที่ นม ๑๖๑๘/๓๐๓๓ เรื่อง การเตรียมความพร้อมรับ สถานการณ์ภัยแล้ง ปี ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ อาเภอประทายแจ้งว่าจังหวัดนครราชสีมา ให้เตรียม ความพร้อมรับสถานการณ์ภัยแล้ง โดยให้จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง และจัดทา แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง เพื่อเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งในพื้นที่ เพื่อให้การเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อสถานการณ์ ลดอันตรายและการสูญเสียหากเกิดเหตุการณ์ขึ้น อาศัยอานาจตาม ความตามแห่งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประกอบ กับพระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๐ และกฎมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการบรรเทาป้องกันสาธารณ ภัย องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด จึงดาเนินการดังนี้ ๑. จัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาแล้ง องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ สานักงานองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการประจาศูนย์อานวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งองค์การ บริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด ดังนี้ ๒.๑ ฝ่ายอานวยการ ประกอบด้วย ๒.๑.๑ นายกองค์การบริหารส่วนตาบล.โนนเพ็ด ผู้อานวยการศูนย์ฯ ๒.๑.๒ รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล.โนนเพ็ด รองผู้อานวยการศูนย์ฯ ๒.๑.๓ เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๔ กานันตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๕ ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน กรรมการ ๒.๑.๖ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๗ ผอ.รพสต.ตาบลโนนเพ็ด กรรมการ ๒.๑.๘ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ด กรรมการ/เลขานุการ ๒.๑.๙ หัวหน้าสานักปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานุการ ๒.๑.๑๐ พนักงานส่วนตาบล เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ ๒.๑.๑๑ พนักงานจ้าง เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ มีหน้าที่ วางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง สั่งการ อานวยการ กากับ ดูแล การปฏิบัติหน้าที่แต่ละฝ่าย ติดตามประเมินและสรุปผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งประสานการ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย ให้สอดคล้องกับหน่วยงานหรือองค์กรอื่น - ๒- ๒.๒ ฝ่ายประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร ประกอบด้วย ๒.๒.๑ นางจุมพิศ คุณล้าน ประธานคณะทางาน ๒.๒.๒ นางกชกร สมทรัพย์ คณะทางาน ๒.๒.๓ นางสาวสุรัญชนา นานอก คณะทางาน ๒.๒.๔ นางรจรินทร์ ศรีปราชวิทยา คณะทางาน ๒.๒.๕ นายเอื้ออังกูล ปัตตาเทศา คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ และจัดการข่ายติดต่อสื่อสาร ติดตั้งและกากับ ดูแลเครื่องมือ อุปกรณ์และระบบสื่อสารกับเครือข่ายต่างๆ รวมทั้งรับส่งข่าวสารกับหน่วยงานต่างๆ ๒.๓ ฝ่ายการเงิน ประกอบด้วย ๒.๓.๑ นางสาวแสงเดือน เพ็ชร์ราม ประธานคณะทางาน ๒.๓.๒ นางสาวอทิตยา เพชรรักษา คณะทางาน ๒.๓.๓ นายสมคิด ชัยนา คณะทางาน ๒.๓.๔ นางสาวอรุณฉาย ประทายนอก คณะทางาน ๒.๓.๕ นางดารุณี โหมดนอก คณะทางาน ๒.๓.๖ นางสาวประภาพร ชัยพรม คณะทางาน ๒.๓.๗ นายสาวสุดา หวัดไทสง คณะทางาน ๒.๓.๘ นางสาวอชิรญา สุพะกะ คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ จัดหาหรือรับบริจาคเครื่องอุปโภค- บริโภคในการสงเคราะห์ผู้ประสบภัย และ จัดทาบัญชีควบคุม รวมทั้งดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงินฉุกเฉินโดยอาศัยหลักเกณฑ์ และวิธีดาเนิน การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการให้ความ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๖ และหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ๒.๔ ฝ่ายแจ้งและเตือนภัย ประกอบด้วย ๒.๔.๑ กานันตาบลโนนเพ็ด ๒.๔.๒ ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน ๒.๔.๓ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ดทุกหมู่บ้าน ๒.๔.๔ พนักงานและพนักงานจ้างองค์การบริหารส่วนตาบลโนนเพ็ดทุกคน ๒.๔.๕ สมาชิก อปพร.อบต.โนนเพ็ด ทุกคน มีหน้าที่ สารวจและจัดเตรียมข้อมูลพื้นฐานท้องที่ เฝ้าระวัง วิเคราะห์ ประเมิน สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น นาเสนอฝ่ายอานวยการเพื่อพิจารณาแนวทางป้องกัน ระงับ และให้ความช่วยเหลือ รวมทั้งรับแจ้งและเตือนภัย - ๓- ๒.๕ ฝ่ายป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง ประกอบด้วย ๒.๕.๑ นายปฐวี ปัตตาเทศา หัวหน้าชุดปฏิบัติการ ๒.๕.๒ นายสุรศักดิ์ กสิผล รองหัวหน้าชุดปฏิบัติการ ๒.๕.๓ นายทัยดา รักษาภักดี เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ๒.๕.๔ นายจักรไชย ปัตตาเทศา เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ๒.๕.๕ นายสมชาย ลุนสมบัติ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ๒.๕.๖ นายสุนทร ชัยพรม เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ๒.๕.๗ เจ้าหน้าที่ อปพร.อบต.โนนเพ็ด เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ๒.๕.๘ นายพัฒพงษ์ ศรีอ่อนตา เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ/เลขานุการ มีหน้าที่ เฝ้าระวังป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง ระดมกาลังพลอาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ประสานการสั่งใช้เครื่องมือเครื่องใช้ ยานพาหนะ เคลื่อนย้ายวัสดุอุปกรณ์ ให้ความ ช่วยเหลืออานวยความสะดวกผู้ประสพภัย และหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ๒.๖ ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย ประกอบด้วยประกอบด้วย ๒.๖.๑ นายปฏิวัติ สมทรัพย์ ประธานคณะทางาน ๒.๖.๒ นายธารง คุณล้าน คณะทางาน ๒.๖.๓ นายเฉลิมชัย ขจรภพ คณะทางาน ๒.๖.๔ นายจักรไชย ปัตตาเทศา คณะทางาน ๒.๖.๕ เจ้าหน้าที่ อปพร.อบต.โนนเพ็ด คณะทางาน ๒.๖.๖ นายอภัยยนต์ พิมพ์ศรี คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ รักษาความปลอดภัยสถานที่เกิดเหตุ รวมทั้งจัดระเบียบจราจรในเส้นทาง คมนาคมและหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย ๒.๗ ฝ่ายฟื้นฟูบูรณะ ประกอบด้วยประกอบด้วย ๒.๗.๑ นายเสกศึก สาราญสุข ประธานคณะทางาน ๒.๗.๒ นายจตุรภัทร ห้อยไธสง คณะทางาน ๒.๗.๓ นายสุนทร ชัยพรม คณะทางาน ๒.๗.๔ นายชาติชนะ นาทุ่งหมื่น คณะทางาน ๒.๗.๕ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหนองช่างตาย คณะทางาน ๒.๗.๖ เจ้าหน้าที่ อปพร.อบต.โนนเพ็ด คณะทางาน ๒.๗.๗ นายสมชาย ลุนสมบัติ คณะทางาน/เลขานุการ มีหน้าที่ ซ่อมแซมระบบสาธารณูปโภค สิ่งก่อสร้างต่างๆ เพื่อให้สามารถใช้การได้ ในเบื้องต้น สารวจความเสียหาย ประเมินความเสียหาย เพื่อประกอบการช่วยเหลือ ดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ผู้ประสบภัย ประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานด้านสาธารณูปโภค และด้านการสาธารณสุข